ปัจจัยทางกลศาสตร์ที่ทำให้อาการ MPS คงอยู่

ปัจจัยทางกลศาสตร์ที่ทำให้อาการ MPS คงอยู่

กลศาสตร์ (mechanics) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวข้องกับแรงกระทำและงานหรือแรงลัพธ์(ผลลัพธ์)ที่เกิดขึ้น ซึ่งถูกแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบด้วยกันคือ สถิตยศาสตร์ (statics) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับแรงที่กระทำต่อวัตถุในภาวะที่หยุดนิ่ง หรือมีความเร่งคงที่ ซึ่งผลของงานจะเท่ากับศูนย์...

โยคะกับโรค Myofascial Pain Syndrome

สวัสดีครับผม นพ.นเรศ สาวะจันทร์ หมอประจำคลินิกเพนอะเวย์จะมาแบ่งปันมุมมองด้านสุขภาพกับทุกท่านนะครับ หลายๆท่านคงทราบดีว่าโรค Myofascial Pain Syndrome นั้นถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ของคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการทำงาน การดำรงชีวิต...

ทบทวนเรื่องการตรวจวินิจฉัยโรค MPS

สวัสดีครับผม นพ.นเรศ สาวะจันทร์ หมอประจำคลินิกเพนอะเวย์จะมาแบ่งปันมุมมองด้านสุขภาพกับทุกท่านนะครับ โดยในวันนี้ทาง Pain Away Clinic ของเราได้จัดการทบทวนเรื่องการตรวจวินิจฉัยโรค Myofascial Pain Syndrome เนื่องจากการตรวจหา trigger point...

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ Myofascial Pain Syndrome

MPS คืออะไร ปัจจุบัน MPS ยังไม่มีคำนิยามที่เป็นมาตรฐาน โดย MPS มีหลากหลายคำจำกัดความตามความเห็นและประสบการณ์แพทย์แต่ละสาขาแต่ทุกคำกำจัดความมักมีสาระสำคัญร่วมกันคือ อาการปวดร้าวและการตรวจพบจุด Trigger Point (TrP) ในปี 1998 Simon & Travell...
Pain Away LINE Account
Book Appointment